วันพฤหัสบดีที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2555

สื่อการสอนในโรงเรียน

สังเกตการใช้สื่อในการเรียนการสอน

วิชาชีววิทยา

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา


ประวัติโรงเรียน

          โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา  เดิมชื่อ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
ถือกำเนิดขึ้น ตามแผนการศึกษาชาติพุทธศักราช 2479 ซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็น 2สาย คือ
สายสามัญศึกษา และสายอาชีวศึกษาและกำหนดให้ผู้ประสงค์จะเข้าเรียนในชั้นอุดมศึกษาต้อง
เรียนชั้นเตรียมอุดมศึกษาก่อนเป็นเวลา 2 ปี
                         ดังนั้นสภามหาวิทยาลัยจึงได้ลงมติให้จัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ
                 มหาวิทยาลัย  มื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480  และอนุญาตให้ใช้ “พระเกี้ยว” เป็นสัญลักษณ์
                 ประจำโรงเรียน     โดยใช้สถานที่ของโรงเรียนมัธยมหอวัง ถนนพญาไท เป็นที่ตั้ง  และแต่งตั้ง
                ให้  ฯพณฯ ศ.ม.ล.ปิ่น  มาลากุล  เป็นผู้อำนวยการคนแรก เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2480  เปิดเรียนวันแรก
                เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2481  และนักเรียนเริ่มเรียนตามตารางสอน เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม
                พ.ศ. 2481 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 227 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน
            กรุงเทพมหานคร

                  













สื่อการเรียนการสอนที่ใช้ในโรงเรียน



หนังสือเล่มเป็นหนังสือที่นักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาต้องใช้ในการเรียน

การสอนในรายวิชา  ชีววิทยา เป็นหนังสือที่โรงเรียนจัดทำขึ้นเอง  โดยอ้างอิง

กรอบจากหนังสือของ สสวท. ซึ่งรายละเอียดเนื้อหาในหนังสือจะเจาะลึกใน

ประเด็นต่างๆ มากกว่าหนังสือโดยทั่วไป  เพื่อให้เด็กนักเรียนไว้ใช้ในการสอบ

แข่งขันในระดับต่างๆ

สื่อการเรียนการสอนทั่วไป

ปกติอาจารย์จะเลือกใช้สื่อในการเรียนการสอนแตกต่างกันออกไป  แล้วแต่เนื้อหา

ที่เรียนในเรื่องนั้นๆ  วันที่ไปสังเกตการสอนอาจารย์ได้ใช้สื่อในการสอน คือ

POWER POINT  สอนเรื่องการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต หรืออนุกรมวิธาน  พร้อม

กับหนังสือเรียนเล่มดังกล่าวข้างต้น  อาจารย์อธิบายให้ฟังว่า  ธรรมชาติของเด็กที่นี่

จะชอบการฟังบรรยายจากอาจารย์ผู้สอนหน้าห้อง  แล้วจดเนื้อหาตามอาจารย์บอก

เด็กจะไม่ชอบทำงานเป็นกลุ่ม  ไม่ชอบทำกิจกรรมระหว่างเรียน  สื่อการเรียนการสอน

นอกเหนือจากนี้ก็จะมีการเรียนรู้จากของจริง  เช่น การนำของจริงมาให้ดู  การให้เด็กไป

เยี่ยมชมพิพิธพันธ์ต่างๆ เช่น Siam Ocean World  หรือมีการทำกิจกรรมกลุ่มบ้างตาม

ความเหมาะสมของเวลา

                         



ประโยชน์ที่ได้จากการเรียนของนักเรียนโดยใช้สื่อ  POWER POINT

1.  นักเรียนได้รับความรู้เนื้อหาจากการบรรยายอย่างเต็มที่
2.  ประหยัดเวลาในการสอนของอาจารย์ผู้สอน  เนื้อจากเนื้อหามีมาก
3.  นักเรียนให้ความสนใจ  เนื่องจากสไลด์ของอาจารย์ค่อนข้างดึงดูด

ข้อเสียของการใช้สื่อ  POWER POINT

1.  นักเรียนไม่มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
2.  นักเรียนที่นั่งอยู่หลังห้องค่อนข้างลำบาก  เพราะถูกบังจากเพื่อนข้างหน้า
3.  นักเรียนบางคนไม่ค่อยสนใจฟังอาจารย์  เพราะห่วงจดเนื้อหาในสื่อ




ขอขอบคุณคณะอาจารย์หมวดวิทยาศาสตร์  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

เป็นอย่างมากที่ให้พวกเราได้เข้าร่วมการใช้สื่อในการเรียนการสอน

วันพุธที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2555

สื่อนวัตกรรมทางการศึกษา


สื่อ นวัตกรรมทางการศึกษา

" GENIUS DESK  "


   


Introducing the Genius Desk.

Imagine students without textbooks or homework.
Imagine a quantum leap in progress of their learning process.
This is it. It is your dream.

Unobtrusive Computing In The Classroom
Curriculum Integrates Computer Based Instruction
Students Develop & Practice Technical. Skills
Teacher Observes & Controls From Master Console
Parents are Confident their Children are Receiving First Rate Education



Integrated Unit

Touch Screen Input
NO input peripherals needed
Media Access Through Master System
No student induced viruses
Wireless Networking
No cables, except power from desk to desk
Increased reliability


Applications

Integrated Curriculum
Computer as Classroom Tool
Not the toy
Research In Classroom
Automated Testing
Computer Based Testing (CBT)



Special Needs Applications

Deaf and Near Deaf
Classroom closed captioning
Real-Time voice recognition and transcription
Vision Impaired
Smart books
Text reader programs
Text scaling
Physically Impaired
Special interfaces and outputs







ที่มา   http://www.geniusdesk.com/patentinfo.htm

แนะนำเคาร์เตอร์  GENIUS 

นักเรียนไม่ต้องมีตำราเรียนหรือหนังสือเรียนและการบ้าน นักเรียนมีความคืบหน้าของกระบวนการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา  โต๊ะคอมพิวเตอร์อัจฉริยะจะไม่สร้างความรำคาญในห้องเรียน  เต็มไปด้วยหลักสูตรรวมบทเรียนอยู่ในคอมพิวเตอร์ที่ใช้  นักเรียนสามารถพัฒนาและฝึกเทคนิค ทักษะทางกระบวนการเรียนรู้ ครูสามารถสังเกตการณ์และควบคุมการเรียนการสอนจากคอมพิวเตอร์ควบคุม

การประยุกต์ใช้งาน

มีการใช้หลักสูตรแบบบูรณาการ
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ในห้องเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
ทดสอบอัตโนมัติ
คอมพิวเตอร์ที่ใช้ทดสอบ (CBT)

หน่วยบูรณาการ


หน้าจอสัมผัส
ไม่จำเป็นต้องใส่อุปกรณ์ต่อพ่วง
เข้าถึงสื่อผ่านระบบต้นแบบ
นักเรียนไม่มีชักนำไวรัสลงสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
ใช้เครือข่ายไร้สาย
ไม่มีสายเกะกะ   ยกเว้นสายไฟที่ต่อจากปลั๊กไฟไปที่โต๊ะ


การประยุกต์ใช้ความต้องการพิเศษ

คนหูหนวกและคนตาบอดสามารถเรียนรู้ผ่านโต๊ะอัจฉริยะได้
โดยการรับรู้เสียงแบบ Real-Time และถอดความ

พิการทางการมองเห็น

ห้องเรียนปิด captioning

หนังสือสมาร์ท


โปรแกรมอ่านข้อความ  ปรับข้อความ  ที่มีความบกพร่องทางกาย


ความคิดเห็นส่วนในการใช้โต๊ะอัจฉริยะกับการเรียนการสอน

โต๊ะอัจฉริยะสามารถทำให้การเรียนรู้ในห้องเรียนเรียนรู้ได้อย่างไม่มีขีดจำกัด แต่ก็ควร

ให้มีการบ้านหรือหนังสือเรียนควบคู่ไปด้วยสำหรับนำกลับไปทบทวนที่บ้าน ถ้าในประเทศ

ไทยสามารถนำมาใช้ในการเรียนการสอนได้นั้นก็เป็นสิ่งที่ดี  แต่จะต้องสอนวิธีการใช้ที่

ถูกต้อง ใช้ไปในทางที่ถูก เช่น  การใช้เพื่อค้นคว้าหาข้อมูล  ไม่ใช่เล่นเกมส์หรือทำ

อย่างอื่นที่ไม่เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้